ถ้ำแชนเดอเลียร์ เพื่อคนรักการดำน้ำ
“สาธารณรัฐปาเลา” เป็นหนึ่งในประเทศที่น้อยครั้งอาจจะเคยได้ยินชื่อ แต่ต้องยอมรับว่าประเทศแห่งนี้ถือเป็นหนึ่งในประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทย เพราะไม่ได้อยู่ไกลกันเลยเนื่องจากจะอยู่ทางด้านตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์
แต่บอกก่อนว่าประเทศนี้ไม่ใช่ประเทศที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ แต่รวมกันเป็นหมู่เกาะที่อยู่บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เพราะฉะนั้นแล้วประเทศไทยต้องยอมรับเลยว่าโดดเด่นการท่องเที่ยวทางด้านทะเลและมหาสมุทรเป็นอย่างมาก มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายที่ได้รับความสนใจ แต่จะว่าไปอีก 1 ที่น้อยคนที่จะรู้จักถ้าไม่ใช่นักดำน้ำ แต่จะเป็นที่ไหนก็ต้องติดตามกัน…..
ถ้ำ แชนเดอเลียร์ คืออะไร?
อย่างที่บอกสำหรับสาธารณรัฐปาเลา เป็นประเทศที่เป็นหมู่เกาะเพราะฉะนั้นแล้วจะมีเรื่องของความโดดเด่นด้านชายหาดและการท่องเที่ยวทางทะเลมากมาย แต่จะว่าไปก็มีหนึ่งที่ที่น่าสนใจนั่นก็คือ ถ้ำแชนเดอเลียร์ แค่ฟังชื่อก็อาจจะรู้สึกแปลกมากแล้วสำหรับถ้ำที่พูดถึง
ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นถ้ำที่ใหญ่มากทีเดียว เพราะมีถึง 5 แห่งที่เชื่อมต่อกัน ดังนั้นแล้วสำหรับนักดำน้ำก็เป็นอีกหนึ่งพื้นที่สำหรับการสำรวจที่ดีเลยเหมือนกัน และแน่นอนว่าการเกิดของถ้ำแห่งนี้ จากชื่อที่ถูกเรียกว่าแชนเดอเลียร์ นั่นก็เป็นเพราะการกัดเซาะของน้ำภายใน ทำให้หินกลายเป็นหินงอกหินย้อย คล้ายกับการสร้างผลงานศิลปะจากธรรมชาติ ทั้งนี้ภายในถ้ำจะมีน้ำที่เป็นน้ำเค็มและน้ำจืด จนทำให้เกิดตะกอนที่เรียกว่า แฮโลไคลน์ ซึ่งก็จะทำให้เกิดการสะท้อนแสงขึ้น
สำหรับสถานที่แห่งนี้ไม่ได้มีเพียงแค่การเข้าไปชมความสวยงามของหินแบบต่างๆ แต่ยังมีสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่มากมายตามผนังถ้ำ และแน่นอนว่าหนึ่งในสิ่งมีชีวิตที่ต้องยอมรับเลยว่าน่าสนใจมาก นั่นก็คือปลาแมนดารินที่นำว่าเป็นปลาสวยงาม ซึ่งควรจะมีโอกาสได้ไปเห็นสักครั้ง
แต่ที่สำคัญเลยคือจะต้องระมัดระวังในการดำน้ำเข้าไปที่ถ้ำแห่งนี้ เนื่องจากเป็นหินงอกหินย้อยที่เกิดขึ้นจากการกัดเซาะของธรรมชาติ ดังนั้นถ้าหากว่ามืดไปและมองไม่เห็นอาจจะไปชนกับหินเหล่านี้จะทำให้เกิดอุบัติเหตุและอันตรายได้ ทางที่ดีควรที่จะต้องพกไฟฉายเอาไว้คืออะไรและจะต้องระมัดระวังตัวเองให้มาก
หรือถ้าจะให้ดีแนะนำว่าควรที่จะต้องปรึกษากับท้องถิ่น เป็นคนที่มีความชำนาญในพื้นที่แห่งนี้ดีอยู่แล้ว อย่างน้อยก็เพื่อความปลอดภัยจะได้ไม่อันตรายจากการเข้าไปดำน้ำในที่แห่งนี้ แล้วจริงๆบริเวณหน้าทางเข้านั้นก็อาจจะได้เห็นสร้างอารยธรรมตั้งแต่สมัยสงครามโลกที่ 2 ซึ่งก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งจุดที่น่าสนใจมากทีเดียว